Health

สุขภาพ ความงาม

รู้ไว้!!! พาราเซตามอล ต้องกินตามน้ำหนักตัวเอง

การกินยาพาราเซตามอลที่ข้างขวด หรือที่แผงยาบอกว่าให้กินครั้งละ 1-2 เม็ด ทุกๆ 4-6 ชั่วโมง แล้วเราควรกินกี่เม็ด เรื่องนี้มีคำตอบจาก อ. นพ.ปณต สายน้ำทิพย์ ฝ่ายเภสัชวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย มาฝากกัน กินยาพาราเซตามอล ตามน้ำหนักตัว การใช้ยาพาราเซตามอล ควรพิจารณาตามน้ำหนักตัวซึ่งขนาดที่เหมาะสมจะอยู่ที่…

2 years ago

3 มาตรการ เปิดร้านหลังเลิก พรก.ฉุกเฉิน

กรมอนามัย เเผย มาตรฐานด้านสุขอนามัย สุขาภิบาล และอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สถานประกอบกิจการควรปฏิบัติหลัง ยกเลิก พรก. ฉุกเฉิน ประกอบด้วย 1.ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม อาทิ การทำความสะอาดจุดสัมผัสร่วมการจัดสถานที่ ให้มีการระบายอากาศภายใน จัดให้มีอุปกรณ์ล้างมืออย่างเพียงพอ 2.ด้านพนักงาน และผู้ปฏิบัติงาน อาทิ มีสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ดี มีการคัดกรองอาการป่วยของพนักงาน เข้ารับการฉีดวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์หากป่วย…

2 years ago

กางแผนฉีดวัคซีนฟรี เดือนตุลาคม 4 กลุ่ม 7 ล้านโดส

รองโฆกรัฐบาล แจงแบ่งงานบริหารวัคซีนโควิด-19 หลังยุบศบค.  1 ต.ค. กางแผนฉีดเดือนตุลาคม 4 กลุ่ม 7 ล้านโดส ไม่มีค่าใช้จ่าย น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ตามที่ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด19 (ศบค.) ได้มีมติยกเลิกการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และกระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศลดระดับโควิด19 จากโรคติดต่ออันตรายเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง…

2 years ago

ศบค. มีมติ ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เริ่ม 1 ต.ค. นี้

ที่ประชุม ศบค.ชุดใหญ่ มีมติ ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน พร้อมข้อกำหนด ทุกฉบับ มีผลบังคับ 1 ต.ค. นี้ กลับมาใช้พ.ร.บ.โรคติดต่อปี 2558 แทน นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษก ศบค. แถลงผลการประชุม ศบค.ชุดใหญ่…

2 years ago

สธ. มั่นใจไร้สุญญากาศช่วงเปลี่ยนผ่านใช้พ.ร.บ.ควบคุมโรคติดต่อดูแลโควิด

นายสาธิต ปิตุเตชะ รมช.สาธารณสุข (สธ.) กล่าวว่า ที่ประชุมศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 หรือ ศบค.ชุดใหญ่ มีมติยกเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินแล้ว ก็ถือว่าสิ้นสุดการบังคับใช้ ที่ผ่านมาพ.ร.ก.ฉุกเฉินมีประโยชน์ในการควบคุมโรค การใช้กฎหมาย เพราะกฎหมายบางฉบับที่มีอยู่ก่อนอาจไม่ครอบคลุม เช่น การกำหนดเวลาการเดินทางในช่วงที่สถานการณ์รุนแรงตึงเครียดก็มีความจำเป็น ซึ่งในช่วงหลังจำเป็นน้อยลง จนอาจจะมีการพูดถึงเรื่องประเด็นทางการเมือง ส่วน พ.ร.บ.ควบคุมโรคติดต่อที่จะมีการปรับแก้นั้น ยังคงอยู่ในการพิจารณาอยู่ในขั้นตอนของการออกกฎหมายของกฤษฎีกา…

2 years ago

สธ. เผย “ญี่ปุ่น-สหภาพยุโรป” ขึ้นทะเบียน LAAB หลังพบช่วยลดอาการรุนแรงโควิด

กระทรวงสาธารณสุข เผยผลวิจัยการใช้ LAAB ยี่ห้อ Evusheld ในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลางและรักษาแบบผู้ป่วยนอก พบว่าการให้เร็วใน 3 วัน  ช่วยลดการเกิดอาการรุนแรงและเสียชีวิตถึง 88% ส่วนการรักษากลุ่มผู้ป่วยในที่มีอาการไม่เกิน 12 วัน ช่วยลดอัตราเสียชีวิต 30% "ญี่ปุ่น" และ…

2 years ago

กันยายน เดือนแห่งการรณรงค์ต้านภัย “มะเร็งต่อมน้ำเหลือง”

กรมการแพทย์ชี้ “มะเร็งต่อมน้ำเหลือง” พบได้บ่อยในคนไทย แนะหมั่นสังเกตตนเองหากคลำพบต่อมน้ำเหลืองโตหรือมีอาการผิดปกติ ควรรีบไปพบแพทย์ นายแพทย์สมศักดิ์ อรรมศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า มะเร็งต่อมน้ำเหลืองเป็นมะเร็งที่พบบ่อยในคนไทย สามารถพบได้ทุกช่วงอายุแล้วแต่ชนิด โดยพบได้ประมาณ 3.000-4,000 คนต่อปี มะเร็งที่เกิดกับต่อมน้ำเหลืองเกิดได้ทุกบริเวณของร่างกาย ตั้งแต่บริเวณรักแร้ คอ ขาหนีบ ตามข้อพับ และในช่องอก…

2 years ago

โควิดวันนี้ ไทยพบผู้ป่วยเพิ่ม 365 ราย ติดเชื้อในประเทศ 250 ราย เสียชีวิตเพิ่มอีกราย

วันนี้ (6 ม.ค. 64) เมื่อเวลา 11.30 น. ที่ทำเนียบรัฐบาล นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โฆษก ศบค.) แถลงถึง สถานการณ์โควิด-19 ในประเทศไทย ว่าล่าสุด สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019…

3 years ago

“เทียนกิ่ง” พืชใบใช้เป็นยา “ห้ามเลือด” แก้เล็บขบได้ดี

เทียนกิ่ง หรือ เฮนนา (Henna; ชื่อวิทยาศาสตร์: Lawsonia inermis L. เป็นพืชในวงศ์ Lythraceae และเป็นพืชมีดอกชนิดเดียวในสกุล Lawsonia คำว่าเฮนนาในภาษาอังกฤษมาจาก ภาษาอาหรับ حِنَّاء (ALA-LC: ḥinnāʾ; ออกเสียง ħɪnˈnæːʔ) หรือ…

3 years ago

7 ข้อควรระวังดื่มนมถั่วเหลืองไม่ถูกต้องระวังเป็นพิษ

1. ผู้ที่ดื่มนมถั่วเหลืองเย็น แล้วอาหารไม่ย่อยและไตทำงานไม่ดี ควรดื่มนมถั่วเหลืองให้น้อยลง นอกจากนี้โรคกระเพาะเฉียบพลัน และโรคกระเพาะที่เรื้อรังไม่ควรบริโภคผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองเพื่อไม่ให้กระตุ้นการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไปและทำให้อาการแย่ลงหรือทำให้ท้องอืด 2. น้ำตาลทรายแดงไม่สามารถเติมลงในนมถั่วเหลืองได้ เนื่องจากน้ำตาลทรายแดงมีกรดอินทรีย์หลายชนิดซึ่งรวมตัวกับน้ำย่อยในนมถั่วเหลืองและไม่สามารถดูดซึมได้ง่ายโดยร่างกาย แต่การเติมน้ำตาลทรายขาวจะไม่มีปรากฏการณ์นี้ 3. ประการที่สามบางคนชอบใช้นมถั่วเหลืองบรรจุขวดแบบเทอร์โมสำหรับให้ความร้อนกับนม วิธีนี้ไม่ดีเนื่องจากสภาพแวดล้อมภายในกระติกน้ำร้อนและชื้นเอื้อต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรียมาก นอกจากนี้ซาโปนินในนมถั่วเหลืองยังสามารถละลายตะกรันในกระติกน้ำร้อนได้และการดื่มเข้าไปจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ 4. เนื่องจากนมถั่วเหลืองผลิตจากถั่วเหลืองซึ่งมีพิวรีนสูง ผู้ที่มีอาการของโรคเกาต์ร่างกายอ่อนเพลียและมีอาการอื่นๆ แทรกซ้อน จึงไม่เหมาะกับการดื่มนมถั่วเหลือง 5.…

4 years ago

This website uses cookies.